กิจกรรม12พฤศจิกายน2553


สืบค้นข้อมูล
ส่วนรอยเลื่อน ที่น่าจับมอง คือรอยเลื่อนสะแกง หรือสะเกียงในประเทศพม่า เพราะรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ เป็นรอยเลื่อนแขนงของลอยเลื่อนสะแกง เพราะมีเขื่อนศรีนครินทร์ตั้งอยู่ โดยในปี 2526 เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 ริกเตอร์ เหนือเขื่อนศรีนครินทร์ประมาณ 60 กม.แต่ไม่ได้ส่งผลเสีย และสร้างความเสียหายกับเขื่อน ดังนั้น ควรต้องมีแผนป้องกันภัย แผนเตือนภัย แผนอพยพ และแผนจัดการ เมื่อเกิดภัยพิบัติ นอกจากนี้ ยังรวมถึงรอยเลื่อนในภาคเหนือของไทยด้วย ส่วนรอยเลื่อนขนาดใหญ่นอกประเทศนอกจากรอยเลื่อนสะแกงแล้ว ยังมีรอยเลื่อนแม่น้ำแดง ในประเทศเวียดนาม อย่างไรก็ตาม ถือว่าประเทศไทยโชคดีที่บรรพบุรุษเลือกพื้นที่ที่มีความเสี่ยงเกิดแผ่นดิน ไหวค่อนข้างต่ำ
สำหรับรอย เลื่อนในประเทศไทยที่มีพลังอยู่มี 13 กลุ่ม ประกอบด้วย รอยเลื่อนแม่จันและแม่อิง ครอบคลุมจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน ครอบคลุมแม่ฮ่องสอน และตาก รอยเลื่อนเมย ครอบคลุมตากและกำแพงเพชร รอยเลื่อนแม่ทา ครอบคลุม เชียงใหม่, ลำพูน และเชียงราย รอยเลื่อนเถิน ครอบคลุมลำปาง และแพร่ รอยเลื่อนพะเยา ครอบคลุมลำปาง, เชียงรายและพะเยา รอยเลื่อนปัว ครอบคลุมน่าน รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ ครอบคลุมอุตรดิตถ์ รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ครอบคลุมกาญจนบุรีและราชบุรี รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ ครอบคลุมกาญจนบุรีและอุทัยธานี รอยเลื่อนท่าแขก ครอบคลุมหนองคายและนครพนม รอยเลื่อนระนอง ครอบคลุมประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, ระนอง, และพังงา รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย ครอบคลุมสุราษฎร์ธานี, กระบี่ และพังงา


สืบค้นข้อมูล
ทวีป หมายถึง แผ่นดินขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันบนพื้นโลก การแบ่งทวีปในโลกไม่มีมาตรฐานที่แน่นอน โดยทั่วไปทวีปต้องเป็นพื้นกว้างใหญ่ ไม่รวมพื้นที่ที่จมอยู่ใต้น้ำ และมีเขตแดนเด่นชัดทางภูมิศาสตร์ แม้ว่าบางคนเชื่อว่าในโลกมีทวีปอยู่ 4-5 ทวีป แต่ส่วนใหญ่จะนับได้ 6-7 ทวีปการแบ่งทวีปที่ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดการขัดแย้งกันอยู่ 2 กรณีใหญ่ ๆ คือ ทวีปยุโรปกับเอเชียควรแยกกันหรือรวมกันเป็นทวีปยูเรเชีย (Eurasia) และทวีปอเมริกาเหนือกับทวีปอเมริกาใต้ควรแยกกันหรือ
(British Isles) จึงเป็นส่วนหนึ่งของยุโรป บางครั้งจะพบว่ามีการใช้คำว่า โอเชียเนีย (Oceania) โดยหมายถึงประเทศออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทั้งประเทศนิวซีแลนด์. บางครั้งก็รวมกันเป็นทวีปอเมริกา นักภูมิศาสตร์บางท่าน (ส่วนน้อย) คิดว่าควรรวมยุโรป เอเชีย และแอฟริกา เป็นทวีปยูราเฟรเชีย (Eurafrasia) (ดู ทวีปแอฟริกา-ยูเรเชีย)
โรงเรียนในสหรัฐอเมริกาสอนว่ามี 7 ทวีป ขณะที่อเมริกาเหนือสอนว่ามี 6 ทวีป
(รวมยุโรปกับเอเชียเป็นยูเรเชีย) ยุโรป อเมริกาใต้ รวมทั้งสหราชอาณาจักรและเม็กซิโก สอนว่ามี 5 ทวีป (รวมอเมริกาเหนือกับอเมริกาใต้เป็นทวีปอเมริกา ไม่มีทวีปแอนตาร์กติกา) ในกีฬาโอลิมปิกแยกโลกเป็น 5 ทวีป (ตามสัญลักษณ์ห่วง 5 วง) ตามทวีปที่มีคนอาศัยอยู่ถาวร (ไม่รวมทวีปแอนตาร์กติกาที่มีคนอยู่ชั่วคราว และควบรวมอเมริกาเหนือกับอเมริกาใต้เป็นทวีปอเมริกา)เราอาจรวมทวีปเป็น มหาทวีป (supercontinent) หรือแบ่งย่อยเป็น อนุทวีป (subcontinent) ก็ได้ แต่ก็ไม่มีนิยามที่แน่นอนชัดเจนเช่นกันส่วนเกาะต่าง ๆ โดยปกติจะกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทวีปที่อยู่ใกล้เกาะนั้นที่สุด ดังนั้นหมู่เกาะบริติช กำหนดให้ออสเตรเลีย (อาจรวมถึงนิวซีแลนด์) เป็นทวีปทวีปหนึ่ง โดยหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกไม่ได้อยู่ในทวีปใด ๆ เลยตอบข้อ 1 ตะวันตกของแอฟริกา กับ ตะวันออกของอเมริกาใต้



  


 
 
 
 
 
สืบข้อข้อมูลแผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติอย่างหนึ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สิอย่างมหาศาลจากประวัติการเกิดแผ่นดินไหวในอดีตที่ผ่านมามีผู้เสียชีวิตนับแสนคนในประเทศที่อยู่นในเขตแผ่นดินไหว เช่นจีนและญี่ปุ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งแผ่นดินครั้งล่าสุดที่เมืองโกเบประเทศญึ่ปุ่นได้เกิดความเสียหายรุนแรงต่ออาคารบ้านเรือนทางด่วนและระบบสาธารณูปโภคมากกว่าที่คาดไว้ แม้ว่าจะได้ออกแบบก่อสร้าง ให้เผื่อแรงแผ่นดินไหวตามกฎหมายที่บังคับไว้แล้วก็ตามประเทศไทยถึงจะไม่ได้อยู่ในบริเวณแผ่นดินไหวใหญ่ของโลกแต่จากการเกิดแผ่นดินไหวขึ้นหลายครั้งโดยมีศูนย์กลางทั้งในและนอกประเทศบางครั้งส่งแรงสั่นสะเทือนรู้สึกได้โดยทั่วไป และเกิดความเสียหายเล็กน้อยแก่อาคารเช่น แผ่นดินไหวเมื่อวันที่17กุมภาพันธ์ 2518ขนาด5.6 ริคเตอร์ที่จังหวัตตาก เมื่อวันที่  22 เมษายน 2526 ขนาด 5.9 ริคเตอร์ที่จังหวัดกาญจนบุรีและครั้งล่าสุดแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2537 ขนาด 5.1 ริคเตอร์ ที่จังหวัดเชียงรายได้ทำให้อาคารโรงพยาบาลพานเสียหายหนักถึงขึ้นระงับการใช้อาคารโรงเรียนและวัดหลายแห่งเสียหายเล็กน้อย จนถึงเสียหายปานกลางปัจจุบันประเทศไทย ได้มีการก่อสร้างอาคารสูงและสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่มากมายตลอดจนมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และจำนวนประชากรของประเทศที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ประเทศไทยมีอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดภัยจากแผ่นดินไหวสูงขึ้น
สาเหตุของแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวเป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากแรงเครียดภายในโลกซึ่งเกิดจากอุณหภูมิที่ต่างกันอย่างมากระหว่างเปลือกโลก และหินหลอมภายในโลกเมื่อแรงนี้กระทำต่อหินแข็งภายในโลกจะทำให้หินแตกออกเป็นแนว เรียกว่า แนวรอยเลื่อน(Fault)เมื่อรอยเลื่อนนี้ขยับตัวก็จะปล่อยพลังงานออกมาอยู่ในรูปของการสั่นไหว ซึ่งก็คือแผ่นดินไหวนั่นเองโดยปรกติรอยเลื่อนจะอยู่ลึกลงไปใต้ผิวโลกไม่ปรากฎให้เห็นที่ผิวดินแต่มีเหมือนกันที่ปรากฎให้เห็นชัดเจน เช่น รอยเลื่อนชานแอนเดรสที่แคลิฟอร์เนียบริเวณรอยเลื่อนเคลื่อนตัวนี้จะเป็นที่รวมของศูนย์กลางแผ่นดินไหวมากมาย ในประเทศไทยมีรอยเลื่อนที่คาดว่ายังมีการเคลื่อนตัวอยู่ในภาคตะวันตกและภาคเหนือของประเทศ เช่น รอยเลื่อนเมย - อุทัยธานี รอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ รอยเลื่อนแม่ทาและ รอยเลื่อนเหล่านี้จำเป็นต้องมีการศึกษาลักษณะการเคลื่อนตัวตลอดจนโอกาสที่จะเกิดแผ่นดินไหวซ้ำอีกและขนาดแผ่นดินไหวสูงสุดที่ควรจะเกิดในแต่ละรอยเลื่อนเพื่อการวางแผนป้องกันภัยอันอาจจะเกิดขึ้น ในบริเวณที่มีอัตราเสื่ยงต่อแผ่นดินไหวสูงเมื่อเกิดแผ่นดินไหวขึ้นพื้นดินจะถูกรบกวนและเคลื่อนออกจากจุดกำเนิดในรูปของคลื่นความสั่นสะเทือนเหมือนกับการโยนกรวดลงในน้ำพื้นน้ำจะถูกคลื่นพัดพาไปเป็นระลอกจนกระทบฝั่งคลื่นแผ่นดินไหวก็เช่นเดียวกันจะคลื่นที่ไปจนกระทั่งพลังงานหมดไปฉะนั้นถ้าเรามีเครื่องมือที่มีความไวพอก็สามารถตรวจจับแผ่นดินไหวในระยะห่างไกลได้เครื่องตรวจแผ่นดินไหวนี้จะมีประโยชน์ในการหาตำแหน่ง ขนาดและความลึกของแผ่นดินไหวในแต่ละครั้งได้หากมีสถานีตรวจเกินสามแห่งขึ้นไปปัจจุบันกรมอุตุนิยมวิทยามีสถานีตรวจแผ่นดินไหว 12 แห่งคือ สถานีเชียวใหม่,สถานีเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก, สถานีนครสวรรค์, สถานีปากช่อง จังหวัด,นครราชสีมา, สถานีอุบลราชธานี, สถานีเลย, สถานีเขื่อนเขาแหลม จังหวัดกาญ จนบุรี, สถานีหนองพลับ ประจวบ คีรีขันธ์, สถานีสงขลา,สถานีภูเก็ต และสถานีน่าน นอกจากนั้นยังมีเครื่องมืออีกชนิดหนึ่งที่ตรวจวัดอัตราเร่งขอพื้ดินเรีว่ StrongMotionAccelerograph (SMA)ติดตั้งตามเขื่อนใหญ่ๆ อาคารสูนงงนใน กทม.และเชียงใหม่ขนาดและความรุนแรงแผ่นดินไหวขนาดแผ่นดินไหวคือการวัดจำนวนหรือพลังงาน ซึ่งปลดปล่อยออกมาที่ศูนย์กลางแผ่นดินไหวหาได้โดยการวัดความสูงของคลื่นแผ่นดินไหวที่บันทึกได้ด้วยเครื่องตรวจแผ่นดินไหว แล้วคำนวณในสูตรการหาขนาดซึ่งคิดค้นโดยนักแผ่นดินไหวชาวเยอรมันชื่อนายซีเอฟ  ริคเตอร์ (C.F. Richter)เราจึงใช้หน่วยของขนาดแผ่นดินไหวว่า "มาตราริคเตอร์"สูตรเบื้องต้นในการคำนวณขนาดคือ M = Log A - Log Ao  ซึ่งอยู่ในรูปของพลคณิตฉะนั้นขนาดแผ่นดินไหวต่างกัน 1 ชั้น จะมีค่าต่างกัน 10 เท่า นั่นคือแผ่นดินไหวขนาด 8ริคเตอร์มีค่าเป็น 10เท่าของขนาด 7 ริคเตอร์และ 100เท่าของขนาด6 ริคเตอร์ เป็นต้น แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดวัดได้ 8.9 ริคเตอร์ ที่ประเทญี่ปุ่นเมื่อปี ค.ศ. 1933 ขนาดแผ่นดินไหว (Magntude) มิได้หมายถึงความรุนแรงแผ่นดินไหว (Intensity)ไปด้วยเช่นแผ่นดินไหวปี ค.ศ.1933มีขนาด  8.9  ริคเตอร์ แต่มีเสียชีวิตเพียง  3,000 คนเท่านั้นเปรียบเทียบกับปีคศ.1976แผ่นดินไหวที่จีนมีขนาดเล็กผู้ลงมาคือ8.2 ริคเตอร์แต่เสียชีวิตถึง 250,000 คน ที่เป็นเช่นนี้เพราะขนาดแผ่นดินไหวจะคงที่ในแผ่นดินไหวแต่ละครั้งแต่ความรุนแรงจะแตกต่างไปตามระยะทาง สภาพทางธรณีวิทยา แลมาตรฐานการก่อสร้าง"ความรุนแรงแผ่นดินไหว" วัดได้โดยใช้ความรู้สึกว่ามีการสั่นสะเทือนมากะน้อยเพียงใดดูความเสียหายต่ออาคารและสิ่งก่อสร้างต่างๆ และเปรียบเทียบกับมาตราวัดอันดับความสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว  เช่น เมื่อวันที  22 เมษายน  2526 วัดขนาดแผ่นดินไหวได้  5.9  ริคเตอร์ ซึ่งมีขนาดเดียวแต่ความรุนแรงในแต่ละแห่งจะไม่เท่ากันเช่นที่กรุงเทพฯความรุนแรงอยู่ในอันดับ 5ตาม "มาตราเมอร์แคลลี" หมายความว่า ชาวกรุงเทพฯ รู้สึกว่าเกิดแผ่นดินไหวกันได้เกือบทุกคนหลายคนตื่นตระหนก ถ้วยชามแตก น้ำกระฉอกออกจากแก้วหรือภาชนะ ซึ่งแน่นอนย่อมมีความรุนแรงต่างออกไปจากบริเวณที่อยู่ศูนย์กลาง หรือบริเวณที่อยู่ห่างไกลออกไปจากบริเวณที่อยู่ศูนย์กลาง หรือบริเวณที่อยู่ห่างไกลออกไปด้วยเหตุนี้การศึกษาข้อมูลแผ่นดินไหวใประเทศไทย จะทำให้ทราบถึงภูมิหลังและลักษณะของการเกิดแผ่นดินไหว ตลอดจนสาเหตุของแผ่นนดินไหวและรอยเลื่อนต่างๆที่คาดว่าเป็นแหล่งกำเนิดของแผ่นดินไหวนอกจากนั้นการศึกษาความรุนแรงของแผ่นดินไหวนอกจากนั้นการศึกษาความรุนแรงของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในอดีต จะเป็นแนวทางในการจัดทำแผนที่แบ่งเขตแผ่นดินไหวและแผนที่นี้จะเป็นตัวกำหนดค่าความเสี่ยงของภัยจากแผ่นดินไหวในพื้นที่ต่างๆของประเทศสำหรับที่จะนำไปใช้ในการออกกฎกระทรวงว่าด้วยแรงแผ่นดินไหวเพื่อควบคุมการก่อสร้างต่างๆให้สามารถต้านทานแรงแผ่นดินไหวได้อย่างเหมาะสม 
 









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น